
Adrenal

มี 2 ต่อม อยู่ข้างบนและข้างหน้าที่ปลายด้านบนของไตทั้ง 2 ข้าง ต่อมหมวกไตด้านขวามีรูปร่างคล้ายพีระมิด ด้ายซ้ายมีขนาดใหญ่และอยู่สูงกว่ามีรูปร่างคล้ายพระจันทร์เสี้ยว ซึ่งแบ่งออกได้ดังนี้
1) บริเวณชั้นนอก ทำหน้าที่สร้างฮอร์โมนกลูโคคอร์ติคอย์ และฮอร์โมนไมเนอราโลคอร์ติคอยด์ (Mineralocorticoid)
2) บริเวณชั้นใน ทำหน้าที่สร้างฮอร์โมนอะดรีนาลิน (Adrenalin) หรือเอพิเนฟริน (Epinephrin) อาจเรียกว่าฮอร์โมนฉุกเฉิน เพราะจะมีผลจากการถูกกระตุ้น เช่น ตกใจ ตื่นเต้น เป็นต้น และสร้างฮอร์โมนนอร์ อะดรีนินหรือนอร์เอพิเนฟริน มีผลทำให้เส้นเลือดแดงที่ไปเลี้ยงอวัยวะภายในหดและบีบตัว
ช่วยควบคุมเมตาบอลิซึมและการเผาผลาญในร่างกาย
ช่วยควบคุม สมดุลของน้ำและเกลือแร่ในร่างกาย ซึ่งถ้าผลิตฮอร์โมนน้อยจะมีอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย คลื่นไส้ เวียนศีรษะ หากผลิตฮอร์โมนมากเกินไป จะทำให้ขาดความสมดุลของเกลือแร่ในร่างกาย
อาจเรียกว่าฮอร์โมนฉุกเฉิน เพราะจะมีผลจากการถูกกระตุ้น เช่น ตกใจ ตื่นเต้น เป็นต้น และสร้างฮอร์โมนนอร์ อะดรีนินหรือนอร์เอพิเนฟริน มีผลทำให้เส้นเลือดแดงที่ไปเลี้ยงอวัยวะภายในหดและบีบตัว